ทางมหาลัยได้เล็งเห็นถึงความต้องการของการเป็นผู้บริหาร จึงผลิตนักศึกษา ให้ต้องต่อความต้องการของตลาด สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ เน้นการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นทางด้านธุรกิจทั่วไป อีกอย่างที่เน้นเป็นอย่างมากคือเรื่องของการสื่อสาร ภาษาอังกฤก เพราะการทำธุรกิจต้องมีการใช้ภาษาทาง สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจจึงได้จัดการเรียนการสอนลักษณะแบบทำงานจริง เปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าถึงระบบการประชุมแบบที่ทำงานจริง
วันพฤหัสบดีที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2559
กิจกรรม ทางด้านภาษาอังกฤก
http://www.bitkkw.com/web/
ทางมหาลัยได้เล็งเห็นถึงความต้องการของการเป็นผู้บริหาร จึงผลิตนักศึกษา ให้ต้องต่อความต้องการของตลาด สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจ เน้นการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นทางด้านธุรกิจทั่วไป อีกอย่างที่เน้นเป็นอย่างมากคือเรื่องของการสื่อสาร ภาษาอังกฤก เพราะการทำธุรกิจต้องมีการใช้ภาษาทาง สาขา เทคโนโลยีสารสนเทศทางธุรกิจจึงได้จัดการเรียนการสอนลักษณะแบบทำงานจริง เปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าถึงระบบการประชุมแบบที่ทำงานจริง
วันพุธที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2559
ลงนามถวายความอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ลงนามถวายความอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ลงนามถวายความอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ถวายความอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ติดโบว์ถวายความอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
วันพุธที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2559
อัตลักษณ์/เอกลักษณ์/สัญญลักษณ์
อัตลักษณ์
1. บัณฑิตนักปฏิบัติ
เอกลักษณ์
ศิลปวิทยาการ สู่สังคม
ตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ประกอบด้วยดวงตราพระราชลัญจกร
ประจำพระองค์รัชกาลที่ 9 อยู่ภายในวงกลมมีรูปดอกบัว 8
กลีบ เหนือวงกลมมีเลข 9 และพระมหาพิชัยมงกุฎครอบใต้วงกลมมีแถบโค้งรองรับ
ภายในบรรจุอักษรชื่อ "มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงรัตนโกสินทร์"
1.ดวงตราพระราชลัญจกร
เลข 9 และ พระมหาพิชัยมงกุฎ สื่อความหมายถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานชื่อมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้เชิญพระราชลัญจกรพระจำพระองค์และพระมหาพิชัยมงกุฎเป็นเครื่องหมายมหาวิทยาลัย
2. รูปดอกบัว 8 กลีบ สื่อความหมายถึง
ความสดชื่นเบิกบานที่ก่อให้เกิดปัญญาแผ่ขจรไปทั่วสารทิศ
ดอกบัวสวรรค์
ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัย
ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัย
สีแดงเลือดนก
เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เนื่องในศุภดิถี ทรงเจริญพระชนม์มายุครบ 90 พรรษา
เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เนื่องในศุภดิถี ทรงเจริญพระชนม์มายุครบ 90 พรรษา
วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ปณิธาน
วิสัยทัศน์ (Vision)
เป็นผู้นำในการจัดการศึกษาวิชาชีพสู่ความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ศิลปกรรม การบริการและบริหารธุรกิจสู่สังคมการประกอบการเพื่อก้าวเข้าสู่มหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศ
พันธกิจ (Mission)
1. จัดการศึกษามุ่งเน้นวิชาชีพบนพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ และมีความสามารถพร้อมเข้าสู่อาชีพและการเป็นผู้ประกอบการที่มีคุณธรรม
2. สร้างงานวิจัย
สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรมบนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และสังคมศาสตร์
สู่การผลิต และการบริการที่สามารถถ่ายทอดและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ประเทศ
3. ให้บริการงานวิชาการ และการศึกษาที่มีแนวคิดเชิงสร้างสรรค์เพื่อการมีอาชีพอิสระ และพัฒนาอาชีพสู่การแข่งขัน
4. ทำนุบำรุงศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และรักษ์สิ่งแวดล้อม
5. บริหารจัดการเชิงธรรมาภิบาล
ส่งเสริมบุคลากรทุกคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ปณิธาณ
เป็นมหาวิทยาลัยแห่งสังคมการประกอบการ(SMART Entrepreneur)
1. จัดการศึกษามุ่งเน้นวิชาชีพบนพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ และมีความสามารถพร้อมเข้าสู่อาชีพและการเป็นผู้ประกอบการที่มีคุณธรรม
3. ให้บริการงานวิชาการ และการศึกษาที่มีแนวคิดเชิงสร้างสรรค์เพื่อการมีอาชีพอิสระ และพัฒนาอาชีพสู่การแข่งขัน
เป็นมหาวิทยาลัยแห่งสังคมการประกอบการ(SMART Entrepreneur)
วันจันทร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2559
ประวัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เกิดจากการเรียกร้องการศึกษาของนักเรียนอาชีวศึกษาในสมัยย้อนไปเมื่อ 30ปีก่อน
ซึ่งถูกสังคมมองว่าเป็นนักเรียนชั้นสองของสังคม จัดการศึกษาได้เพียงแค่ระดับ ปวส.และการก้าวสู่ระดับปริญญาตรีนั้นจะต้องผ่านการสอบแข่งขันกับนักเรียนสายสามัญ
เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2518 วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา
จึงได้ถือกำเนิดขึ้นตามร่างพระราชบัญญัติวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา พุทธศักราช
2518 ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาและมีผลบังคับใช้เป็นต้นมาโดยมีวัตถุ
ประสงค์ เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรีให้การศึกษาทางด้านอาชีพทั้งระดับต่ำกว่าปริญญาตรี
ระดับปริญญาตรี และประกาศนียบัตรชั้นสูง ทำการวิจัยส่งเสริมการศึกษาทางด้านวิชาชีพและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม
วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา
ต่อมา
วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา เปลี่ยนชื่อจากวิทยาลัยมาเป็น วิทยาเขต ตามลำดับ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาได้พัฒนาระบบการเรียนการสอนให้ได้มาตรฐานการศึกษาที่มีคุณภาพและศักยภาพ
มีความพร้อมในหลายๆด้าน จนกระทั่งในปี 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งหมายความว่า สถาบันเทคโนโลยีอันเป็นมิ่งมงคลแห่งพระราชา
ในวันที่ 15 กันยายน พุทธศักราช 2531 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
มีภารกิจหลักคือ จัดการศึกษา (ระดับต่ำกว่าปริญญาตรี
ระดับปริญญาตรีและระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต) ทำการวิจัยสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม
ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ทำนุบำรุงศาสนาศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สืบเนื่องจากแนวทางการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 ที่มุ่งเน้นการกระจายอำนาจ การบริหารจัดการสู่สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
เพื่อให้สถานศึกษาของรัฐดำเนินการโดยอิสระ และมีความคล่องตัวในการบริหารจัดการภายใต้การกำกับดูแลของสภาสถานศึกษา
ดังนั้น สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลจึงได้ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติฉบับเดิมและยกร่างเป็นพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
โดยมีการรวมวิทยาเขต จัดตั้งเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จำนวน 9 แห่ง โดยมีวัตถุประสงค์ให้ 9 มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สามารถจัดการศึกษาวิชาการ
และวิชาชีพชั้นสูงที่เน้นการปฏิบัติทั้งในระดับปริญญาตรี โท และ เอก เพื่อรองรับการศึกษาต่อของผู้สำเร็จการศึกษาจากสถาบันอาชีวศึกษาเป็นหลัก
รวมถึงให้โอกาสแก่ผู้เรียนจากวิทยาลัยชุมชน และการศึกษาขั้นพื้นฐานในการศึกษาต่อวิชาชีพระดับปริญญาตรี
ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 9 แห่งอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
การก้าวสู่มหาวิทยาลัยจากพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
พ.ศ. 2548 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธย
เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2548 และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2548 พระราชบัญญัติดังกล่าว
มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 19 มกราคม 2548 มีผลให้สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.
2518 ปรับเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลทั้งเก้าแห่ง คือ
1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
3. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
4. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
7. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
8. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
9. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
|
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ประกอบด้วย 4 พื้นที่ได้แก่
– มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ พื้นที่ศาลายา
– มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ พื้นที่บพิตรพิมุข
จักรวรรดิ
– วิทยาลัยเพาะช่าง
– มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ พื้นที่วังไกลกังวล
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)